“ไบโพลาร์” ผิดปกติทางอารมณ์ที่อาจอันตรายถึงชีวิต!
ช่วงหลายปีนี้ เรามักเห็นข่าวผู้เสียชีวิตจากโรคซึมเศร้าสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก แต่ทราบไหมว่ายังมีอีกหนึ่งโรคที่คุกคามชีวิตได้ไม่น้อยไปกว่ากัน นั่นคือ “ไบโพลาร์”
ช่วงหลายปีนี้ เรามักเห็นข่าวผู้เสียชีวิตจากโรคซึมเศร้าสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก แต่ทราบไหมว่ายังมีอีกหนึ่งโรคที่คุกคามชีวิตได้ไม่น้อยไปกว่ากัน นั่นคือ “ไบโพลาร์”
ข้อมูลการทดลองทางคลินิกแสดงให้เห็นว่าคนที่ตอบสนองต่อการรักษา Bipolar Disorder นั้นอาจได้รับอิทธิพลจากน้ำหนักและคุณภาพโดยรวมของอาหารที่บริโภค โดยผลลัพธ์ในระยะแรกนั้นพบว่า ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดการอักเสบ (ผัก ผลไม้) หรือมีดัชนีมวลกายที่ต่ำ (BMI)
ในปี 2557 รพ.ศรีธัญญามีผู้ป่วยไบโพลาร์ 9,051* ราย และตามข้อมูลของรพ. ล่าสุดปี 2560 พบผู้ป่วยโรคนี้มากขึ้นเป็น 31,521** คน นับว่าเป็นตัวเลขที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัว และนับว่าเป็นอีกหนึ่งโรคที่เราควรหันมาใส่ใจและสังเกตตัวเองมากขึ้น มาดูกันว่าเราจะสังเกตตัวเองได้อย่างไรบ้าง
เมื่ออายุมากขึ้นเราก็ค้นพบว่า การเป็นผู้ใหญ่นั้นมันไม่ง่ายเลยจริงๆ มีเรื่องให้คิดทั้งวัน ไม่ว่าจะเรื่องงาน ความรัก ความสัมพันธ์ หรือแม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ที่บางทีเราก็ไม่รู้ว่า “เรื่องแค่นี้น่ะหรือ” ก็สามารถมากระทบจิตใจทำให้เครียดและว้าวุ่นไปเป็นวันๆ ได้เหมือนกัน
ว่าไปแล้วได้ยินกันออกจะบ่อยเลยนะครับกับคำนี้ เพราะว่าเป็นยุกต์ของ Social ใครๆ ก็เลยพากันติดโทรศัพท์ไม่เว้นแม่แต่ในรุ่นของคุณพ่อคุณแม่เราก็ด้วยเหมือนกันนะครับ แต่ที่หนักเลยคือ “วัยรุ่น” กับ “วัยทำงาน”