Tag Archives: โรคติดต่อ

“ไข้หูดับ” ทำหูหนวกตลอดชีวิต! ป้องกันได้อย่างไร?

“ไข้หูดับ” เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน สาเหตุของโรคเกิดจากร่างกายติดเชื้อแบคทีเรีย ชนิดแกรมบวกที่พบในหมู แต่สามารถก่อให้เกิดโรคที่รุนแรงในคนได้ ชื่อ Streptococcus suisซึ่งเชื้อนี้แม้จะมีหลากหลายมากกว่า 30 สายพันธุ์ย่อย แต่ที่ก่อให้เกิดโรคในคนคือ สายพันธุ์ที่2 (Serotype 2)

โรคมือ เท้า ปาก ป้องกันเบบี๋อย่างไรไม่ให้ติดต่อ

โรคมือเท้าปากมักพบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ซึ่งการติดต่อของโรคก็ติดกันได้ง่ายมาก เพียงสัมผัสสิ่งของต่าง ๆ ร่วมกัน จามใส่กัน หรือไปสัมผัสกับอุจจาระของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสอยู่ ก็สามารถติดเชื้อไวรัสได้แล้ว

รู้ยัง…”โรคสเตรปโธรท” ติดต่อได้ผ่านแปรงสีฟัน!

“โรคสเตรปโธรท” หรือ “โรคเจ็บคอสเตรปโธรท” (Strep throat) เป็นโรคเกิดจากร่างกายติดเชื้อแบคทีเรียชนิด กรุ๊ป เอ สเตรปโตคอกคัส จากการสัมผัสสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ โดยการคลุกคลี ใกล้ชิด หรืออยู่ร่วมกันในสถานที่แออัด

ตาแดงๆ นี่ไม่ได้ร้องไห้มานะ… แต่เป็นโรคฮิตหน้าฝน!

เนื่องจากสภาพอากาศที่ชื้นแฉะอันเป็นผลพวงของสภาพอากาศในฤดูฝน ทำให้ง่ายต่อการระบาดของ “โรคตาแดง”โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคตาแดงจากเชื้อไวรัสเนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัสถ้าไม่อยากเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว ก็ต้องใส่ใจดูแลสุขภาพ หรือหากป่วยด้วยโรคตาแดงก็ควรปฏิบัติตัวอย่างถูกวิธีเพื่อให้ร่างกายกลับมาแข็งแรงโดยเร็ววัน

“ฝีมะม่วง” ไม่อยากเป็นต้องรู้จักป้องกันตัว!!

“ฝีมะม่วง”(LymphogranulomaVenereum-LGV)เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียคลาไมเดียทราโคมาติสชนิด L1, L2, L3 ติดต่อโดยการร่วมเพศหรือสัมผัสถูกหนองของฝีโดยตรง ทำให้เกิดแผลขนาดเล็ก ไม่เจ็บ ที่อวัยวะเพศก่อน ต่อมาจะทำให้เกิดการอักเสบของต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบ ทำให้เกิดอาการปวดบวมเดินลำบาก

“คุดทะราด” ติดต่อ เป็นซ้ำ ทำพิการ โรคติดต่อที่ต้องรีบมารู้จัก!

“โรคคุดทะราด” (Yaws/ Frambesia)เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ พบมากในประเทศเขตร้อน ที่มีภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมไม่ดี มีสาเหตุเกิดจากเชื้อ Treponemaสามารถแพร่กระจายได้ง่ายด้วยการสัมผัสกับน้ำเหลืองของผู้ป่วยในระยะที่ 1 และระยะที่ 2เป็นโรคติดต่อที่สามารถกลับมาเป็นซ้ำได้

“ทริคิโนซิส” โรคติดต่อรุนแรง เมื่อเป็นต้องแจ้งความ!

“โรคทริคิโนซิส”(Trichinosis)เป็นโรคที่ติดต่อจากสัตว์ถึงคน พยาธิตัวกลมที่ทำให้เกิดโรคนี้ คือ ทริคิเนลล่า สไปราลิส (Trichinellaspiralis) พบได้มากสุด ในสัตว์กินเนื้อที่เป็นสัตว์ป่า เช่น หมูป่า รองลงมาเป็นสัตว์ที่ใช้ฟันแทะ เช่น หนู กระรอก นอกจากนี้ยังพบได้ในสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม อาการในคนแตกต่างกันมากขึ้นกับจำนวนตัวอ่อนที่รับประทานเข้าไป

“ไข้ลาสซา” เชื้อเดียวกับอีโบลา โรคติดต่ออันตรายที่อาจระบาดข้ามประเทศได้!

เพิ่งได้รับการประกาศจากองค์การอนามัยโลก (WHO)เมื่อไม่นานมานี้ ว่าเป็น 1 ใน 6 โรคติดต่ออันตรายที่จำเป็นต้องเฝ้าระวังเพราะอาจมีการระบาดข้ามประเทศได้สำหรับ “ไข้ลาสซา” โดยก่อนหน้านี้มี6 โรคที่เคยประกาศแล้ว คือ กาฬโรค ไข้ทรพิษ ไข้เหลือง โรคซาร์ส โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และโรคเมอร์สฟังแค่ชื่อก็รับรู้ได้ถึงความน่ากลัว ว่าแล้วเราไปทำความรู้จัก “ไข้ลาสซา” กันเถอะ

“เริมที่ปาก” โรคน่าผวา… ติดต่อได้แม้ไม่มีรอยให้เห็น

“โรคเริมที่ปาก” เป็นโรคที่พบได้บ่อย มักพบเกิดที่ ริมฝีปาก ช่องปาก และเหงือก โดยไวรัสชนิดนี้สามารถก่อให้เกิดตุ่มน้ำใสๆ ได้ทั้งบริเวณรอยต่อระหว่างริมฝีปากกับผิวหนัง “โรคเริมที่ปาก” เป็นโรคไม่หายขาดและสามารถติดต่อได้แม้เมื่อไม่มีรอยโรคให้เห็น

“มาลาเรีย” โรคระบาดที่เป็นปัญหาระดับชาติ

ปัญหาสุขภาพของคนในประเทศถือเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญ โดยหนึ่งในการตั้งเป้าหมายเพื่อลดโรคและภัยสุขภาพซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ก็คือ ภายในปี 2567 ทุกอำเภอของประเทศปลอดจากมาลาเรีย คำถามที่ตามมาก็คือ “โรคมาลาเรีย” อันตรายแค่ไหน ทำไมถึงกลายเป็นปัญหาระดับประเทศ ว่าแล้วเราก็ไปทำความรู้จักโรคนี้กันดีกว่า..