เช็ค 9 พฤติกรรม Red Flag เข้าข่ายซึมเศร้า..รู้เร็ว รีบรักษา มีโอกาสหาย
ปัจจุบันมีคนเป็นโรคซึมเศร้ากว่า 1.2 ล้านในไทย แต่ยังมีหลายคนที่มีอาการแต่นึกไม่ถึงว่าเป็นโรคซึมเศร้าจนมีอาการรุนแรง ลองสำรวจตัวเองกับ 9 พฤติกรรมที่เข้าข่ายโรคซึมเศร้า
ปัจจุบันมีคนเป็นโรคซึมเศร้ากว่า 1.2 ล้านในไทย แต่ยังมีหลายคนที่มีอาการแต่นึกไม่ถึงว่าเป็นโรคซึมเศร้าจนมีอาการรุนแรง ลองสำรวจตัวเองกับ 9 พฤติกรรมที่เข้าข่ายโรคซึมเศร้า
ยังคงเป็นสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง สำหรับการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 ในประเทศไทย เรียกว่าเป็นอะไรที่ต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน หนึ่งในนั้นคือ ครอบครัว ต้องช่วยกันดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตกันและกัน โดยเฉพาะบ้านที่มีสมาชิกเป็นผู้ป่วยจิตเวช ต้องเพิ่มความใส่ใจมากยิ่งขึ้น
ช่วงหลายปีนี้ เรามักเห็นข่าวผู้เสียชีวิตจากโรคซึมเศร้าสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก แต่ทราบไหมว่ายังมีอีกหนึ่งโรคที่คุกคามชีวิตได้ไม่น้อยไปกว่ากัน นั่นคือ “ไบโพลาร์”
ข้อมูลการทดลองทางคลินิกแสดงให้เห็นว่าคนที่ตอบสนองต่อการรักษา Bipolar Disorder นั้นอาจได้รับอิทธิพลจากน้ำหนักและคุณภาพโดยรวมของอาหารที่บริโภค โดยผลลัพธ์ในระยะแรกนั้นพบว่า ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดการอักเสบ (ผัก ผลไม้) หรือมีดัชนีมวลกายที่ต่ำ (BMI)
งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2560 นี้ เชื่อว่าจะมีประชาชนจากทั่วประเทศมาร่วมงานมหาศาล หนึ่งในนั้นอาจเป็นผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต อาทิ เป็นโรคจิตเวช ซึมเศร้า หรือมีโรคเรื้อรัง คำถามคือ ผู้ป่วยเหล่านี้ควรเตรียมความพร้อมอย่างไรให้เข้าร่วมพิธีสุดสำคัญนี้ได้อย่างราบรื่น
“โรคซึมเศร้า” และ “ภาวะเครียด-โรควิตกกังวล” ถือเป็นปัญหาสุขภาพจิตของวัยทำงานทั่วโลกที่พบบ่อย โดยพบผู้ป่วยประมาณ 300 ล้านคน และ 260 ล้านคน ตามลำดับ เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของเราจะอยู่ในช่วงวัยทำงาน ส่วนในไทยพบปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงานสูงเช่นกัน แถมยังรุนแรงถึงขั้นฆ่าตัวตาย!
ปัจจุบันมีคนจำนวนไม่น้อยที่ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องโรคทางจิตเวชอยู่ ภาพในหัวของหลายๆ คนยามนึกถึงผู้ป่วยโรคจิตเภท คือ คนที่เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย บางครั้งเหม่อลอย บางครั้งก็อาละวาด พูดจาไม่รู้เรื่อง ผมเผ้ารุงรัง เป็นต้น ซึ่งคนเหล่านี้มักถูกคนในสังคมเรียกด้วยความกลัวหรือหวาดผวาว่า “โรคจิต”
“โรคสมาธิสั้น” เป็นโรคทางจิตเวชที่พบได้มาก ผลสำรวจของกรมสุขภาพจิต ปี 2559 พบถึงร้อยละ 5.4 คาดว่ามีเด็กไทยอายุ 6-15 ปี ซึ่งทั่วประเทศมี 7 ล้านกว่าคน เป็นโรคนี้ประมาณ 420,000 คน หรือพบได้ 2-3 คนต่อห้องเรียนที่มีเด็ก 40-50 คน ที่น่าตกใจ คือ เด็กเล็กเป็นโรค “ไฮเปอร์เทียม” มากขึ้น