4 ประเภทอาหาร ตัวช่วยลด-ละ-เลิกบุหรี่ด้วยการกิน
เริ่มต้นลด ละ เลิกสูบบุหรี่ จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้การบำบัดด้วยการกินอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ลง
เริ่มต้นลด ละ เลิกสูบบุหรี่ จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้การบำบัดด้วยการกินอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ลง
สถานการณ์การสูบบุหรี่ในปัจจุบันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ พบจำนวนผู้สูบบุหรี่ทั่วโลกเพิ่มขึ้นมากกว่า 1.68 พันล้านคน อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่เพิ่มขึ้นเป็น 10 ล้านคน เรียกได้ว่า บุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้สูบและบุคคลใกล้เคียง ฉะนั้น หากมีสมาชิกในบ้านสูบบุหรี่ ย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพของทุกคนในครอบครัว
รู้ไหมว่าคอเลสเตอรอลก็มีความสัมพันธ์กับช่วงวัยของคนเราเหมือนกัน โดยเฉพาะเมื่ออายุมากขึ้นก็มักจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับคอเลสเตอรอลได้ง่าย ทั้งนี้คอเลสเตอรอลจะมีผลต่อสุขภาพและเปลี่ยนไปตามช่วงวัยอย่างไร ก็ต้องมาทำความเข้าใจกันเลย
เมื่อนึกถึงคอเลสเตอรอล เพื่อนๆ ก็คงนึกถึงอะไรที่ไม่ดีหรือมีคอเลสเตอรอลสูง แต่คอเลสเตอรอลก็มีชนิด “ดี” ที่ร่างกายของคุณต้องการด้วยเหมือนกันนะ ไขมันดีที่ว่านั้นเรียกว่า HDL หรือ ไลโปโปรตีนความหนาแน่นสูง (High-density lipoprotein)
หากเรามีระดับไขมัน LDL หรือ “ไขมันไม่ดี” ในระดับสูงสามารถนำไปสู่การสะสมของคอเลสเตอรอลในเส้นเลือดของเพื่อนๆ ซึ่งสามารถเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจได้
ยิ่งอายุมากขึ้นเราก็ยิ่งอยากหยุดใบหน้าไม่ให้ตามอายุไป แต่ใครละจะหนีความเหี่ยวย่นจากริ้วรอยได้พ้น เราทำได้แค่ชะลอไม่ให้ริ้วรอยมาไวก็เท่านั้น ซึ่งวันนี้สดสวยจะมาบอกต่อว่า พฤติกรรมแบบไหนที่เราต้องหยุด ถ้าไม่อยากตีนกาผุดขึ้นเร็วค่ะ
เพื่อนๆ กำลังสูบบุหรี่อยู่หรือเปล่า… หรือมีคนใกล้ชิดสูบบุหรี่เป็นประจำหรือไม่? จากบทความเรื่อง สูบบุหรี่ ทำเสี่ยง “สมองเสื่อม” ได้อีก! บอกว่า “การศึกษาฉบับใหม่ที่เผยแพร่ในวารสาร Radiology ผู้ที่สูบบุหรี่หรือมีโรคเบาหวานอาจมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะสมองเสื่อม”
การใช้บุหรี่ไฟฟ้าทุกวันสามารถทำให้อัตราการเกิดโรคหัวใจวายได้เกือบเท่าตัวจากการสำรวจของผู้คนเกือบ 70,000 คน นำโดยนักวิจัยจาก UC San Francisco
เรามักคิดว่า ถ้าเลิกสูบบุหรี่แล้ว = เราจะไม่เป็นมะเร็งปอด ข่าวร้ายก็คือมะเร็งยังคงพัฒนาในร่างกายของเรา แม้ว่าจะเลิกสูบบุหรี่ไปแล้ว แต่ข่าวดีในอีกมุมหนึ่ง ความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งปอดจะหยุดลงหลังจาก 5 ปีของการเลิกบุหรี่!
ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ องค์การอนามัยโลก และบริษัท I.M.S Health Inc พบว่าประเทศไทยมีจำนวนผู้สูบบุหรี่ 11 ล้านคน โดยกว่า 4 ล้านคนมีความมุ่งมั่นต้องการเลิกสูบบุหรี่ ทั้งนี้ ผู้เลิกสูบบุหรี่ส่วนใหญ่ใช้วิธีการหักดิบ ซึ่งมักไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ไม่อยากพลาด เรามีเทคนิคดีๆ มาฝาก