6 ความเชื่อ “ไข้หวัด-ไข้หวัดใหญ่” ความแตกต่างอยู่ตรงไหน?
“ไข้หวัด” ถือเป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจที่แทบทุกคน เคยมีประสบการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคนี้ ส่วน “ไข้หวัดใหญ่” นั้น ก็เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจเช่นกัน แต่จากไวรัสคนละชนิด และมีความรุนแรงสูงกว่ามาก
“ไข้หวัด” ถือเป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจที่แทบทุกคน เคยมีประสบการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคนี้ ส่วน “ไข้หวัดใหญ่” นั้น ก็เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจเช่นกัน แต่จากไวรัสคนละชนิด และมีความรุนแรงสูงกว่ามาก
อาการป่วยของเด็กเล็กบางครั้งเป็นเรื่องยากที่คุณพ่อคุณแม่จะสามารถวินิจฉัยหรือคาดเดาได้ โดยเฉพาะโรคที่มีอาการใกล้เคียงกับอาการป่วยธรรมดา อย่างโรคหวัด คือ อาการไข้ คัดจมูก หายใจไม่สะดวก ซึ่งโรคที่มีความรุนแรงกว่าหวัดที่ฝงมากับอาการเหล่านี้ได้ คือ…
“อย่าโดนฝน หัวเปียกจะเป็นหวัดเอานะ” ได้ยินแบบนี้แล้วเฮียก็สงสัยครับว่า คำพูดเหล่านี้เป็นจริงหรือไม่? ซึ่งเฮียก็ได้ข้อมูลจากชีวจิตมา ไปดูเฉลยกันดีกว่าว่าเป็นยังไง
มีผลการวิจัยออกมาแล้วว่า ห้องนอนเย็นๆ จะช่วยในการนอนหลับได้ดีกว่า นี่เป็นเพราะอุณหภูมิร่างกายคุณขึ้นๆ ลงๆ ตลอดวัน
จากการสำรวจในประเทศไทยก็พบว่าในช่วงประมาณ 40 ปีที่ผ่านมานี้ อุบัติการณ์ของโรคภูมิแพ้เพิ่มขึ้น 3-4 เท่าตัวเลยทีเดียว!
เฮียเชื่อว่าหลายคนพอเป็นหวัดก็รู้สึกว่าเป็นแค่เรื่องเล็กน้อย นอนพักสักนิดก็หายแล้ว แต่บางรายไม่เป็นอย่างนั้นเพราะดันตามมาด้วยการเป็นหวัดเรื้อรังไม่หายสักที จนในที่สุดก็ต้องเป็นเรื่องใหญ่ไปหาหมอจนได้ ดังนั้น เฮียเลยลองไปค้นข้อมูลเรื่องของการกำราบหวัดซึ่งเป็นการรักษาและเป็นตัวอย่างการใช้ยาในลักษณะของการแพทย์ผสมผสานด้วยจากชีวจิตมาฝากกันครับ โดยสูตรกำราบหวัดจากครั้งนี้จะใช้ตัวยาตามนี้…
“ถ้านำหัวหอมไปฝานแล้วนำมาใส่ไว้ในถุงเท้าที่ใส่นอนจะช่วยรักษาอาการหวัดได้” เรื่องจริงหรือไม่? เฮียมีคำตอบมาฝากกัน
รู้จักกันเป็นอย่างดีสำหรับ “โรคหวัด” และเชื่อว่าแทบทุกคนล้วนเคยป่วยด้วยโรคนี้ เป็นโรคที่พบได้ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก (แต่ในเด็กจะพบบ่อยกว่าเพราะมีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่ำกว่าผู้ใหญ่) โดยโรคหวัดเป็นโรคเกิดได้ตลอดปี แต่พบบ่อยในหน้าฝนและหน้าหนาว
หากตื่นขึ้นมาด้วยอาการครั่นเนื้อครั่นตัว ไอหรือจาม จะทำอย่างให้คุณรู้สึกดีขึ้นได้ก่อนถึงเวลาเข้านอนอีกรอบลองทำตามคำแนะนำของเรานี้เลย!
เอาจริงๆ เนื้อเพลงก็ไม่ค่อยจะตรงกับเรื่องราวที่เฮียกำลังจะกล่าวถึงเท่าไหร่ เพราะสิ่งที่เฮียนำมาฝากเพื่อนๆ วันนี้เป็นเรื่องของ “ยาอมแก้เจ็บคอ” ที่สุดท้ายอาจทำให้เราเกิดดื้อยาได้แบบไม่รู้ตัว