ความเครียดมีหลายระดับ จัดการอย่างไรไม่ให้พลาด?
ความเครียดเป็นสิ่งที่ใครๆ ต่างก็ต้องเจอ แต่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล เครียดแค่ไหน อันตรายหรือไม่ จัดการอย่างไร มาหาคำตอบกัน
ความเครียดเป็นสิ่งที่ใครๆ ต่างก็ต้องเจอ แต่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล เครียดแค่ไหน อันตรายหรือไม่ จัดการอย่างไร มาหาคำตอบกัน
หนึ่งในปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ คือ ความรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า ผู้ดูแลและคนใกล้ชิดต้องใส่ใจ
เราทุกคนสามารถเกิดความเครียดได้ การรู้ทันอารมณ์และจัดการรับมือกับความเครียดได้นั้น เป็นสิ่งที่ดีเพื่อตัวเองและคนรอบข้าง
วัยทำงาน เป็นกลุ่มที่เกิดความเครียดได้สูง เมื่อเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม จะทำให้เกิดความเครียดได้ง่าย ซึ่งส่งผลต่อปัญหาสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจตามมา รวมทั้งทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
3 สาเหตุใหญ่ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความผิดปกติทางจิต ได้แก่ สาเหตุทางร่างกาย สาเหตุทางจิตใจ และสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม ในบทความนี้จะโฟกัสไปที่ สาเหตุทางร่างกาย
ความเครียด เป็นภาวะที่ร่างกายเกิดการปรับตัวไม่ได้โดยจะเกิดขึ้นหลังจากเจอกับความขัดแย้งหรือมีสิ่งที่มากระทบกับร่างกายและจิตใจ การจะรับมือกับความเครียดต้องเริ่มจากการสำรวจตัวเองก่อน
ภาวะซึมเศร้า เป็นภาวะที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงหรือพิการ มีโอกาสพัฒนาไปเป็นโรคซึมเศร้าได้ในอนาคต ซึ่งอาจส่งผลถึงขั้นทำให้ผู้สูงอายุไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป
รู้จักและวิธีรับมืออารมณ์ของเหล่าวัยรุ่นที่บ้างครั้งพ่อแม่อาจจะไม่เข้าใจและสร้างความบาดหมางกันได้
ทำความรู้จักภาวะหมดไฟในการทำงาน พร้อมหาคำตอบต่อคำถามที่ว่า ภาวะหมดไฟในการทำงาน อันตรายหรือไม่? ใครบ้างที่เสี่ยง?
เชื่อว่ามีหลายคนสับสนระหว่างโรคจิตกับโรคประสาท ไม่แน่ใจว่ามีความหมายเหมือน หรือต่างกันอย่างไร บทความนี้มีคำตอบต่อคำถามที่ว่า สองคำนี้ ต่างกันหรือไม่? อย่างไร?