รู้จัก “โรคลมชักในผู้ป่วยเด็ก”
“โรคลมชัก” เป็นโรคระบบประสาทเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดในเด็กทั่วโลก คือประมาณ 41-187 ต่อแสนประชากร พบอุบัติการณ์สูงในขวบปีแรกความชุกของโรคลมชักรวมทุกอายุประมาณ 4-10 ต่อ 1000 ประชากร
“โรคลมชัก” เป็นโรคระบบประสาทเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดในเด็กทั่วโลก คือประมาณ 41-187 ต่อแสนประชากร พบอุบัติการณ์สูงในขวบปีแรกความชุกของโรคลมชักรวมทุกอายุประมาณ 4-10 ต่อ 1000 ประชากร
การเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน นอกจากกรณีเมาแล้วขับแล้ว ปัญหาด้านสุขภาพบางอย่างอาจส่งผลต่อความสามารถในการขับขี่และทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น กรณีผู้อำนวยการโรงเรียนเกิดอาการลมชักจนขับรถจนพุ่งชนนักเรียนเสียชีวิต 4 ราย คำถามคือ โรคใดบ้างที่ส่งผลต่อสมรรถภาพในการขับขี่บนท้องถนน?
สร้างความตระหนกตกใจให้เหล่าผู้ใช้รถใช้ถนนได้ไม่น้อย กรณีชายวัย 44 ปี ขับรถกระบะชนจักรยานยนต์กว่า 10 คัน บนถนนพัทยาใต้ จนมีผู้เสียชีวิต 2 ราย ผู้บาดเจ็บ 15 ราย โดยอ้างว่าเป็นโรคลมชัก ส่วนจะป่วยจริงหรือแค่อ้างให้เป็นหน้าที่ของตำรวจ เพราะสิ่งที่เราอยากโฟกัสคืออันตรายของ “โรคลมชัก” ค่ะ
เมื่อกล่าวถึง “โรคลมชัก” หลายคนมักเข้าใจว่าอาการแสดงของผู้ป่วย คือ อาการชักเท่านั้น ทั้งที่จริงแล้ว อาการ “เหม่อลอย เบลอ วูบบ่อยๆ” เป็นอาการของโรคนี้ด้วย ผู้ป่วยโรคลมชักบางส่วนจึงเข้าใจผิดว่าตนแค่มีอาการวูบ ทำให้ไม่ไปรักษา นำไปสู่ความเสี่ยงที่จะเกิดอาการรุนแรงในช่วงที่มีการชักถึงขั้นเสียชีวิตได้
“โรคลมชัก” เป็นโรคทางระบบประสาทเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะทุพพลภาพทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่รู้สึกตัวเมื่อมีอาการชัก การดูแลผู้ที่มีอาการชักอย่างถูกวิธีจึงมีความจำเป็นและสำคัญต่อตัวผู้ป่วยมากเพราะจะช่วยลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวผู้ป่วยได้
“ชักตัวอ่อน (Atonic seizure/ Drop seizure) คือ การชักหรือลมชักชนิดทั้งตัวรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะสำคัญ คือ การสูญเสียการตึงตัวของกล้ามเนื้อหรือกำลังของกล้ามเนื้ออย่างทันที และขาดสติทุกครั้งที่เกิดชัก
“โรคลมชัก” (Epilepsy) หลายคนรู้จักในชื่อ “โรคลมชักบ้าหมู” หรือ “โรคลมบ้าหมู” เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยโรคหนึ่งพบได้ในทุกเพศและทุกวัย