7 กลิ่น ‘น้ำมันหอม’ บำบัดโรคแทนยา
มีเรื่องราวของกลิ่นต่างๆ ที่ช่วยบำบัดเราในหลายๆ ด้านที่แตกต่างกัน ใครที่ประสบกับปัญหาสุขภาพด้านไหนอู่ไปลองสำรวจกันว่า ควรจะให้กลิ่นไหนมาบำบัดดี
มีเรื่องราวของกลิ่นต่างๆ ที่ช่วยบำบัดเราในหลายๆ ด้านที่แตกต่างกัน ใครที่ประสบกับปัญหาสุขภาพด้านไหนอู่ไปลองสำรวจกันว่า ควรจะให้กลิ่นไหนมาบำบัดดี
แทบทุกบ้านมักมียารักษาโรคติดไว้ในตู้ยา โดยเฉพาะยาสามัญประจำบ้าน นอกจากนี้ยังมีทั้งยาที่ได้รับมาจากโรงพยาบาลแล้วกินไม่หมด ซึ่งมีคนจำนวนไม่น้อยที่เลือกกินยาที่เหลืออยู่ในบ้านมากกว่าออกไปหาหมอเมื่อมีอาการเจ็บป่วย แต่หลายคนอาจไม่รู้ว่า ยาทุกชนิดมีวันหมดอายุหากกินยาเสื่อมคุณภาพโดยไม่รู้ตัว อาจเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต!!
ล่าสุดจากกรณีที่มีผู้ใช้เฟซบุคชื่อบัญชี รพ.สต.ดงมูลเหล็ก เพชรบูรณ์ ได้เปิดเผยข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับเจ้าพนักงานเภสัชกรรมรายหนึ่ง เสียชีวิตจากการกินยาลดน้ำหนักอันตราย ดังนี้…
จากกรณีมีผู้โพสต์ข้อความบนโซเซียลมีเดียว่า ช่วงนี้เจอคนไข้กินยาทีโอฟิลลีน แล้วใจสั่นเข้า ER เยอะมาก ส่วนใหญ่ซื้อยาจากร้านขายยา บอกเป็นหวัด เภสัชกรก็จัดยาชนิดนี้ให้ ทั้งที่ยาทีโอฟิลลีนเป็นยารักษาอาการหอบหืดไม่ใช่ยารักษาอาการหวัด อันตรายใกล้ตัวขนาดนี้อย่าปล่อยผ่าน ว่าแล้วมาเจาะลึกถึงยาทีโอฟิลลีนกันเถอะ
ช่วงนี้หลายคนเป็นหวัดกันแบบกระจายตัวทั่วบ้านทั่วเมืองเลยทีเดียว จะว่าไปแล้วนะครับ เฮียว่าเจ้า “หวัด” เนี่ยมันเป็นโรคน่าสร้างความน่ารำคานให้เราไม่น้อย แม้ว่าจะไม่ใช่โรคร้ายแรงก็เถอะ แต่ถ้าเป็นแล้วก็อยากหายไวไว
การเลือกใช้ยาในคุณแม่ตั้งครรภ์ นอกเหนือไปจากประสิทธิภาพของยาที่ใช้ในการรักษาแล้ว ความปลอดภัยต่อทารกในครรภ์ก็เป็นเรื่องสำคัญที่ควรคำนึงไม่ด้อยไปกว่ากัน
ระวังให้ดีอย่าซื้อยากินเองโดยที่แพทย์ไม่ได้สั่ง โดยเฉพาะยาต้านแบคทีเรียบางรายการ นอกจากจะใช้ไม่ได้ผลแล้วยังเสี่ยงส่งผลข้างเคียงต่อสุขภาพ และเสี่ยงต่อเชื้อดื้อยา เสียชีวิตจากการดื้อยา ตัวอย่างยาประเภทที่เราควรหลีกเลี่ยงก็คือ “ยาอม-ยาแก้ท้องเสีย และยาสูตรผสม” ซึ่งมีส่วนผสมของยาต้านแบคทีเรียโดยไม่จำเป็น
ปวดหัว ปวดไหล่ ปวดแขน ปวดขา หน้าท้อง หรือสารพัดจะปวด… เกิดเหตุแบบนี้เพื่อนๆ หลายคนวิ่งไปหยิบ “ยาแก้ปวด” มากินกันก่อนเลย เดี๋ยวนะ เฮียมีอะไรจะบอก!
ในช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ 9 เดือน การหลีกเลี่ยงอาการเจ็บป่วยหรือไม่สบายตัวอาจทำได้ยาก บางอาการอาจจะแก้ไขได้โดยไม่จำเป็นต้องรับประทานยา แค่เพียงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน ก็สามารถที่จะช่วยแก้ไขหรือบรรเทาอาการลงได้
บ่อยครั้งทีเดียวที่เรากินยาที่ได้รับมาไม่ครบตามแพทย์สั่ง เนื่องจากรู้สึกว่าหายดีแล้ว หลายคนนำยาที่กินไม่หมด ยาหมดอายุ หรือยาไม่ใช้แล้ว ไปทิ้งลงถังขยะ ทิ้งลงแหล่งน้ำ หรือฝังลงดินโดยไม่ทราบว่ายาบางประเภทมีฤทธิ์ตกค้างยาวนานในสิ่งแวดล้อมอย่าปล่อยให้ความมักง่ายส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ เช็คซิ คุณจัดการยาที่ไม่ใช้แล้วได้ถูกวิธีหรือเปล่า?