“โรคพาร์กินสัน” ปล่อยไว้ไม่รักษายิ่งทวีความรุนแรง
“พาร์กินสัน” โรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่ผู้ที่เข้าสู่วัยชราต้องระวัง
“พาร์กินสัน” โรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่ผู้ที่เข้าสู่วัยชราต้องระวัง
การเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน นอกจากกรณีเมาแล้วขับแล้ว ปัญหาด้านสุขภาพบางอย่างอาจส่งผลต่อความสามารถในการขับขี่และทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น กรณีผู้อำนวยการโรงเรียนเกิดอาการลมชักจนขับรถจนพุ่งชนนักเรียนเสียชีวิต 4 ราย คำถามคือ โรคใดบ้างที่ส่งผลต่อสมรรถภาพในการขับขี่บนท้องถนน?
อาการสั่นที่ควบคุมไม่ได้ของกล้ามเนื้อ ดูจะเป็นภาพจำที่คนส่วนใหญ่นึกถึงยามกล่าวถึงผู้ป่วย “โรคพาร์กินสัน” แท้จริงแล้วผู้ป่วยโรคนี้อาจมีอาการอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากอาการทางการเคลื่อนไหว ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและผู้ดูแลได้เช่นกัน แต่จะมีอะไรบ้างนั้นไปเติมความรู้กันค่ะ
เมื่อเกิดอาการผิดปกติขึ้นกับร่างกาย หรืออยากได้ความรู้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ โดยเฉพาะโรคที่กำลังเป็นกระแสอยู่ในขณะนั้น สิ่งแรก ๆ ที่คนยุคนี้ทำก็คือ การเข้าอินเทอร์เน็ตเสิร์ชหาข้อมูลว่าแต่ในรอบปี 2559 ที่ผ่านมา โรคใดฮอตฮิตติด Top 3 ที่คนไทยเสิร์ชมากที่สุดจากGoogle ประเทศไทย ไปฟังคำตอบพร้อมรู้จัก 3 โรคที่ว่ากันค่ะ
หลายคนคงเคยได้ยินชื่อ “โรคพาร์กินสัน” ผ่านหูกันมาบ้าง แต่ก็คงผ่านแล้วผ่านเลยเพราะเข้าใจว่าเป็นโรคของผู้สูงอายุขอบอกว่าคุณคิดผิดแม้ว่าตลอดหลายปีที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยโรคพาร์กินสันส่วนใหญ่มีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป แต่ในปัจจุบันพบว่าผู้ป่วยร้อยละ 8 ถูกตรวจพบว่าเป็นโรคพาร์กินสันก่อนอายุ 40 ปีอีกด้วย ดังนั้นกลุ่มวัยทำงานจึงถือเป็นอีกกลุ่มที่มีความเสี่ยง
บางทีเรื่องเล็กๆ ก็อาจเป็นส่วนช่วยเสริมให้เกิดเรื่องราวใหญ่ๆ ได้เหมือนกัน อย่างความเชื่อที่ว่า “การนอนตะแคงช่วยให้สมองดีขึ้น” นั้นเป็นจริงมากน้อยแค่ไหน เฮียมีคำตอบมาฝากกัน
เมื่อพูดถึง “โรคพาร์กินสัน” เชื่อว่าภาพแรกที่หลายคนนึกในหัวคืออาการสั่นที่ควบคุมไม่ได้ของกล้ามเนื้อในผู้ป่วยราวกับเป็นของคู่กัน คำถามที่ตามมาก็คือ ถ้าอาการเด่นๆ ของโรคพาร์กินสัน คือ การสั่นเท่านั้นโรคนี้ก็ดูไม่น่าจะเป็นโรคอันตรายร้ายแรงสักเท่าไหร่ ว่าแต่ความเข้าใจนี้ถูกต้องหรือไม่ เรามาเจาะลึกถึงโรคพาร์กินสันกันดีกว่า