3 นวัตกรรมเพื่อการใช้ชีวิตที่ง่ายและสุขภาพที่ดีสำหรับผู้สูงวัย
3 นวัตกรรมเพื่อการใช้ชีวิตที่ง่ายและสุขภาพที่ดีสำหรับผู้สูงวัย จากงานมหกรรมสุขภาพ Healthcare 2022 ที่เด็ดจนเราอยากบอกต่อ
3 นวัตกรรมเพื่อการใช้ชีวิตที่ง่ายและสุขภาพที่ดีสำหรับผู้สูงวัย จากงานมหกรรมสุขภาพ Healthcare 2022 ที่เด็ดจนเราอยากบอกต่อ
อากาศช่วงนี้เดี๋ยวแดดจัด เดี๋ยวฝนตก ผู้สูงอายุซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบางต้องดูแลเป็นพิเศษ นีืคือวิธีการเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงด้วยการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัย
การกลืนอาหารเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญในวัยผู้ใหญ่ เพราะหากขาดความระมัดระวังอาจนำไปสู่อันตรายถึงชีวิตได้
เคล็ดลับสุขภาพดีของวัยเกษียณที่ปลอดภัยห่างไกลโควิด-19
แนวทางในการจัดสรรอาหารที่ดีให้กับผู้สูงอายุเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคโควิด-19
คาดว่าในปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ ที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 14 เพื่อให้ผู้สูงอายุในครอบครัวของเราแข็งแรงสุขภาพดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ หลัก 4 Smart ช่วยได้ค่ะ
แม้ตัวเลขผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในบ้านเราจะเป็น 0 อย่างต่อเนื่อง แต่สถานการณ์โดยรวมก็ยังไม่น่าไว้วางใจ การป้องกันตนเอง สวมหน้ากาก งดกิจกรรมนอกบ้านจึงยังจำเป็นสำหรับทุกคน โดยเฉพาะครอบครัวที่มีผู้สูงอายุ ควรเพิ่มความระมัดระวังเป็นเท่าตัว เพราะวัยนี้มีภูมิต้านทานค่อนข้างต่ำจึงมีความเสี่ยงสูง
“ความดันโลหิตสูง” คือ สภาวะผิดปกติที่บุคคลมีระดับความดันโลหิตสูงขึ้นกว่าระดับปกติของคนส่วนใหญ่ โดยโรคนี้พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุที่อ้วน มีไขมันในเลือดสูงหรือสูบบุหรี่ ที่น่ากลัว คือ ผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยเข้าใจผิดเกี่ยวกับโรคนี้ นำไปสู่การดูแลตัวเองที่ผิดพลาดและนำไปสู่ความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพได้
ประเทศไทยในขณะนี้กำลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ไม่แปลกที่หลายครอบครัวจะมีสมาชิกเป็นผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขและลดความเสี่ยงต่อการเจ็บไข้ได้ป่วย สมาชิกในบ้านต้องช่วยกันดูแล ซึ่งหนึ่งในปัญหาสำคัญที่มักเกิดในผู้สูงอายุคือ การหกล้ม แต่อย่าพึ่งกังวลค่ะ เรามีวิธีป้องกันมาฝาก ปัญหาหกล้มในผู้สูงอายุมีอันตรายกว่าคนวัยอื่น ๆ และผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการหกล้มได้ง่ายเนื่องจากความเสื่อมของร่างกาย การหกล้มเกิดจากการสูญเสียการทรงตัว ทำให้อวัยวะต่าง ๆ เช่น แขน ขา ศีรษะ ฯลฯ …
ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพระดับโลกที่น่าเป็นห่วง สำหรับการระบาดของ COVID-19 งานนี้นอกจากจะส่งผลเสียต่อสุขภาพกายโดยเฉพาะในผู้ที่ติดเชื้อแล้ว วิกฤติครั้งนี้กำลังก่อให้เกิดความเครียดในหมู่คนทั่วทุกหย่อมหญ้า ไม่อยากสุขภาพจิตพังจนอาจนำไปสู่การเจ็บป่วย เราทุกคนในครอบครัวช่วยกันได้ ด้วยการนำทริคเหล่านี้ไปดูแลจิตใจกันและกันค่ะ ลดการดู การอ่าน หรือการฟังข่าวที่ทำให้รู้สึกวิตกกังวลเกินไป ควรอ่านข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้เท่านั้น ไม่ควรเชื่อถือข่าวลือ ในส่วนของการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับโรคควรค้นตามเวลาที่กำหนดเพียงหนึ่งหรือสองครั้งต่อวันเท่านั้น เพราะกระแสข่าวต่าง ๆ ที่หลั่งไหลมาเร็วตลอดเวลาสามารถทำให้ทุกคนรู้สึกกลัวกังวลได้ง่าย การพูดคุยเกี่ยวกับเรื่อง…