เคล็ดลับการกินอาหารให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงวัย
การกลืนอาหารเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญในวัยผู้ใหญ่ เพราะหากขาดความระมัดระวังอาจนำไปสู่อันตรายถึงชีวิตได้
การกลืนอาหารเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญในวัยผู้ใหญ่ เพราะหากขาดความระมัดระวังอาจนำไปสู่อันตรายถึงชีวิตได้
เคล็ดลับสุขภาพดีของวัยเกษียณที่ปลอดภัยห่างไกลโควิด-19
แนวทางในการจัดสรรอาหารที่ดีให้กับผู้สูงอายุเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคโควิด-19
คาดว่าในปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ ที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 14 เพื่อให้ผู้สูงอายุในครอบครัวของเราแข็งแรงสุขภาพดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ หลัก 4 Smart ช่วยได้ค่ะ
แม้ตัวเลขผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในบ้านเราจะเป็น 0 อย่างต่อเนื่อง แต่สถานการณ์โดยรวมก็ยังไม่น่าไว้วางใจ การป้องกันตนเอง สวมหน้ากาก งดกิจกรรมนอกบ้านจึงยังจำเป็นสำหรับทุกคน โดยเฉพาะครอบครัวที่มีผู้สูงอายุ ควรเพิ่มความระมัดระวังเป็นเท่าตัว เพราะวัยนี้มีภูมิต้านทานค่อนข้างต่ำจึงมีความเสี่ยงสูง
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต โดยเฉพาะผู้สูงอายุยังคงมีความต้องการพลังงานและสารอาหารที่มีคุณภาพสูงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ จึงควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ให้เพียงพอและเหมาะสม
ปัจจุบันประเทศไทยมีสัดส่วนของผู้สูงอายุร้อยละ 17.9 และมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง การที่จะมีอายุยืนยาวและคุณภาพชีวิตที่ดี จำเป็นต้องส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีและพึ่งพาตนเองได้ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น ออกกำลังสำหรับผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญที่สมาชิกในครอบครัวควรใส่ใจอย่างยิ่งค่ะ
แม้ว่าอาหารเจจะเป็นอาหารสุขภาพ แต่ถ้ากินไม่ถูกหลักโภชนาการอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้เช่นกัน พญ.อยุทธินี สิงหโกวินท์ แพทย์หัวหน้าศูนย์เบาหวานและต่อมไร้ท่อโรงพยาบาลพญาไท 2 ให้ข้อมูลว่า
“ผู้สูงอายุ” เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในชีวิตหลายเรื่อง ฉะนั้น อารมณ์และความรู้สึกของผู้สูงอายุจะเปราะบางเป็นพิเศษ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตได้ อย่างไรก็ตาม การสร้างความสุขในผู้สูงอายุไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่ต้องเรียนรู้ในการปรับตัวและยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ เนื่องจากกลุ่มผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี หลายคนมักมองผู้สูงอายุว่าเป็นภาระทั้งต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ทั้งที่จริงแล้ว ผู้สูงวัยมิได้เป็นภาระแก่ลูกหลาน หลายท่านยังมีสุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้และต้องการพึ่งตนเอง