“ไบโพลาร์” ผิดปกติทางอารมณ์ที่อาจอันตรายถึงชีวิต!
ช่วงหลายปีนี้ เรามักเห็นข่าวผู้เสียชีวิตจากโรคซึมเศร้าสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก แต่ทราบไหมว่ายังมีอีกหนึ่งโรคที่คุกคามชีวิตได้ไม่น้อยไปกว่ากัน นั่นคือ “ไบโพลาร์”
ช่วงหลายปีนี้ เรามักเห็นข่าวผู้เสียชีวิตจากโรคซึมเศร้าสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก แต่ทราบไหมว่ายังมีอีกหนึ่งโรคที่คุกคามชีวิตได้ไม่น้อยไปกว่ากัน นั่นคือ “ไบโพลาร์”
ด้วยกลิ่นและสีที่มีเอกลักษณ์ “ลาเวนเดอร์” จึงเป็นอีกหนึ่งผลผลิตทางธรรมชาติที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง ทั้งในแง่ของเครื่องสำอางและใช้ในอุตสาหกรรมสุขภาพ
ข้อมูลการทดลองทางคลินิกแสดงให้เห็นว่าคนที่ตอบสนองต่อการรักษา Bipolar Disorder นั้นอาจได้รับอิทธิพลจากน้ำหนักและคุณภาพโดยรวมของอาหารที่บริโภค โดยผลลัพธ์ในระยะแรกนั้นพบว่า ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดการอักเสบ (ผัก ผลไม้) หรือมีดัชนีมวลกายที่ต่ำ (BMI)
ความเครียดและความวิตกกังวลเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สุขภาพร่างกายและจิตใจย่ำแย่ และอาจเลยเถิดไปถึงภาวะซึมเศร้า โรคเครียดหรือมีปัญหาสุขภาพจิตได้ วิธีเดียวที่จะแก้ปัญหานี้ก็คือการฝึกแก้ปัญหาที่ต้นเหตุให้ลุล่วงแล้วฝึกสมองไม่ให้มีการย้ำคิดย้ำทำจนกลายเป็นความเครียดได้ โดยอาจมี 3 วิธีฝึกสมองให้เลิกกังวลแบบนี้
กลายเป็นอีกหนึ่งอาการที่ต้องให้ความสนใจและใส่ใจ สำหรับ “โรคโทรศัพท์ลามกอนาจาร” หรือ ผู้ที่มีพฤติกรรมเซ็กซ์โฟน ที่หลายคนคิดว่ามีผู้ป่วยหรือพฤติกรรมที่เข้าข่ายโรคนี้เป็นจำนวนน้อย แต่จากข้อมูลของกรมสุขภาพจิตทำให้เราทราบว่า “โรคโทรศัพท์ลามกอนาจาร” ใกล้ตัวกว่าที่เราคิดค่ะ
“โรคซึมเศร้า” และ “ภาวะเครียด-โรควิตกกังวล” ถือเป็นปัญหาสุขภาพจิตของวัยทำงานทั่วโลกที่พบบ่อย โดยพบผู้ป่วยประมาณ 300 ล้านคน และ 260 ล้านคน ตามลำดับ เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของเราจะอยู่ในช่วงวัยทำงาน ส่วนในไทยพบปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงานสูงเช่นกัน แถมยังรุนแรงถึงขั้นฆ่าตัวตาย!
สืบเนื่องมาจากภาวะน้ำท่วมที่ผ่านมาในหลายพื้นที่ของประเทศไทย เชื่อว่าผู้ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสุขภาพเป็นประจำคงเคยได้ยินได้เห็นคำว่า PTSD ผ่านหูผ่านตามาบ้าง เพราะผู้ประสบอุทกภัยหลายท่านกำลังเจ็บป่วยหรือมีแนวโน้มที่จะเกิดโรคทางใจนี้ขึ้นได้ โรคพีทีเอสดี คืออะไร เราไปทำความรู้จักกันค่ะ
ขณะนี้หลายจังหวัดยังคงประสบปัญหาน้ำท่วม และยังมีแนวโน้มฝนตกต่อเนื่องและอาจเกิดน้ำท่วมขึ้นได้อีกหลายพื้นที่ ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ประสบภัยทั่วไป รวมถึงกลุ่มเสี่ยงที่มีความเปราะบางทางจิตใจ นอกจากปัญหาสุขภาพจากโรคภัยไข้เจ็บที่ปรากฏให้เห็นทางกายภาพแล้ว ยังส่งผลต่อจิตใจอีกด้วยค่ะ
ยังคงมีข่าวคราวปรากฏให้ได้เห็นอยู่เนืองๆ สำหรับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ ซึ่งการถ่ายทอดสดการฆ่าตัวตายในลักษณะเช่นนี้ ไม่สามารถเซนเซอร์ได้ในขณะออกอากาศ และหากมีผู้ติดตามจำนวนมาก ย่อมส่งผลกระทบในวงกว้าง ที่น่ากลัวมาก คือ ทำให้เกิดการฆ่าตัวตายเลียนแบบได้
หลายคนอาจยังไม่ค่อยเข้าใจ หรืออาจเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับผู้ป่วยจิตเวช โดยส่วนหนึ่งอาจมองว่า การป่วยเป็นการเสแสร้งแกล้งทำ เรียกร้องความสนใจ ส่วนผู้ป่วยที่เคยมีพฤติกรรมรุนแรงมาก่อน ก็ถูกมองว่าเป็นตัวอันตรายไปตลอดชีวิต เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยไม่กล้าเข้ารับการรักษา ทั้งๆ ที่ ในความเป็นจริงโรคนี้รักษาได้