วิธีเยียวยาร่างกายจากการ “อดนอน”
การอดนอนบ่อยๆ จะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้อย่างมากมาย ดังนั้นจึงควรพยายามนอนหลับพักผ่อนให้มากขึ้น แต่หากไม่สามารถทำได้จริงๆ เราก็มีวิธีการเยียวยาและป้องกันการอดนอนมาแนะนำเช่นกัน โดยจะมีวิธีไหนบ้างก็ต้องมาดูกันเลย
การอดนอนบ่อยๆ จะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้อย่างมากมาย ดังนั้นจึงควรพยายามนอนหลับพักผ่อนให้มากขึ้น แต่หากไม่สามารถทำได้จริงๆ เราก็มีวิธีการเยียวยาและป้องกันการอดนอนมาแนะนำเช่นกัน โดยจะมีวิธีไหนบ้างก็ต้องมาดูกันเลย
การศึกษาเรื่องการกินอาหารว่างยามดึกและความอยากอาหารจังก์ฟู้ดอาจส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่แข็งแรงและเป็นตัวบ่งชี้ถึงความเชื่อมโยงระหว่างการนอนหลับที่ไม่ดีกับโรคอ้วน ตามการศึกษาของนักวิจัยด้านการนอนหลับของ University of Arizona Health Sciences
การนอนแบบหลับสนิทตลอดคืนอย่างเพียงพอมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย แถมยังทำให้ตื่นมาตอนเช้าสดชื่นมีแรงพลังต่อสู้กับงานและความวุ่นวายในแต่ละวันได้ แต่การนอนหลับสนิทตลอดคืนอาจไม่ใช่เรื่องทำได้ง่ายๆ ของบางคน และผลกระทบของการนอนไม่หลับยังมีอีกมากด้วยนะ
หลับยาก ติดต่อกันเกิน 1 สัปดาห์ – 10 วัน รู้สึกเพลีย มีอาการง่วงหงาวหาวนอน ประสิทธิภาพในการทำงานลดน้อยลง มีอาการหงุดหงิดอารมณ์เสียง่ายขึ้น คิดอะไรไม่ค่อยออก หรือไม่ก็จะมีอาการหลงๆลืมๆอยู่บ่อยๆ มักมีอาการหลับในเวลาขับรถ มีอาการปวดศีรษะอยู่เสมอ มักมีอาการเซื่องซึม เหล่านี้คือสัญญาญเตือนที่บอกว่าเพื่อนๆ กำลังเผชิญกับ “โรคนอนไม่หลับ” แน่นอนว่าโรคนี้ส่งผลกระทบกับชีวิตประจำวันของเราโดยตรง…
เพื่อนๆ เคยลองสังเกตตัวเองหรือเปล่าว่า… กลางคืนก็นอนหลับดีประมาณ 6-8 ชั่วโมงตามเกณฑ์ แต่ทำไมเช้าตื่นขึ้นมาถึงเพลียแบบดื้อๆ ? เล่นเอาทำงานไปหาวน้ำหูน้ำตาไหลไป หรือรู้สึกไม่สดชื่นเอาเสียเลย
เพื่อนๆ ไม่มีได้มีอาการนี้เพียงลำพังนะครับ เพราะกว่าครึ่งของคนอเมริกาไม่สามารถนอนหลับได้ หรือหลับไม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดนโรคนอนไม่หลับเล่นงานอยู่เป็นประจำ บทความนี้เฮียเลยอยากชวนเพื่อนๆ มาดูเหตุผลที่เป็นตัวการร้ายๆ ทำลายการนอนของเพื่อนๆ แบบไม่รู้ตัวกัน