รวมวิธีแก้นอนกรน โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การนอนกรนนอกจากจะสร้างปัญหาให้แก่คู่นอนแล้ว ยังอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรค หยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น แต่เราสามารถแก้ได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน
การนอนกรนนอกจากจะสร้างปัญหาให้แก่คู่นอนแล้ว ยังอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรค หยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น แต่เราสามารถแก้ได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน
ไม่เพียงสร้างความรำคาญให้คนร่วมเตียง แต่การนอนกรนยังเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะความเสี่ยงในการหยุดหายใจขณะหลับ ซึ่งอันตรายถึงชีวิต
เราเคยได้ยินกันมาว่า “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ” เป็นภัยเงียบและเป็นอันตราย แต่จริงๆ แล้วโรคนี้มีสาเหตุมาจากอะไร และมีวิธีสังเกตอย่างไร มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
นอนกรน เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่หลายคนมักมองข้ามไป แต่ นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายของการนอนกรนไว้ว่า… อาการนอนกรนที่เกิดในขณะหลับ
สุขภาพการนอนของเด็กเป็นเรื่องสำคัญ เพราะหากเด็กมีปัญหาด้านการนอน ย่อมส่งผลกระทบถึงพัฒนาการของเด็กในด้านต่างๆ ทั้งการเรียนรู้ อารมณ์ สติปัญญา หนึ่งในปัญหาด้านการนอนที่พ่อแม่ไม่ควรละเลย คือ “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับในเด็ก” อันมีสาเหตุมาจาก “ต่อมอะดีนอยด์โต”
เรื่องนอนกรน เป็นปัญหาใหญ่ของใครหลายๆคน เนื่องจากไปรบกวนการนอนของคนรอบๆข้าง ถึงแม้การกรนจะดูเป็นเรื่องปกติเพราะเกิดขึ้นกับคนส่วนใหญ่ก็ตาม แต่การแก้ไขน่าจะเป็นทางออกที่ดีที่สุด ยังไงลองมาดูวิธีแก้ปัญหากันดีกว่าไหม
“นอนกรน” เป็นความปกติจากการนอนไม่หลับที่พบบ่อย นอกจากจะสร้างความรำคาญให้คนรอบข้างจากเสียงดังที่รบกวนแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้มีอาการนอนกรนอีกด้วย กล่าวคือ อาการนอนกรนมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อภาวะหยุดหายใจขณะหลับซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงต่อโรคอันตรายหลายๆ โรค!!
การนอนหลับเป็นกิจกรรมที่ทำให้ร่างกายได้พักฟื้นจากความเหนื่อยล้า ดังนั้นหากเราสามารถนอนหลับได้ปกติก็จะมีสุขภาพที่ดี ในทางตรงกันข้ามหากใครที่มีปัญหาการนอน ก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตประจำวันได้ การนอนหลับผิดปกติที่พบบ่อย คือ “โรคนอนกรน”ที่น่ากลัวก็คือประมาณร้อยละ40 ของผู้ป่วยทั้งหมดมักขยายขอบเขตของอาการไปสู่“ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ”
การกรน คือภาวะที่การนอนมีเสียงดังขณะหลับ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของเนื้อเยื่ออ่อนบริเวณด้านหลังหลอดลมส่วนบน, ลิ้นไก่ และเพดานอ่อนเนื่องจากมีการแคบลงของทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเกิดจากการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อขากรรไกรล่าง ลิ้น และเพดานอ่อน