Tag Archives: เบบี๋

รู้จักการนอนของเบบี๋… รู้วิธีดูแล

เรื่องนอนของลูกยังเป็นเรื่องใหญ่สำหรับคุณพ่อคุณแม่เสมอ เรามาคลายความกังวล ด้วยการเรียนรู้ถึงลักษณะการนอนในรูปแบบต่างๆ ของลูกน้อย พร้อมเทคนิค การดูแลสุขภาพเรื่องนอนมาฝากค่ะ

ทำอย่างไรเมื่อลูก “ร้องกลั้น”

เจ้าตัวเล็กร้องไห้อย่างรุนแรงด้วยความโกรธหรือถูกขัดใจแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องตามใจลูกไปเสียทุกอย่าง เพราะถ้าทำอย่างนั้นจะทำให้ลูกเคยตัว และจะใช้วิธีร้องกลั้นเพื่อให้ได้ในสิ่งที่เขาต้องการ

8 ด้านต้องส่งเสริม… เพื่อพัฒนาสมองวัยเบบี๋

สมองของลูกนั้นสามารถจะพัฒนาได้ตั้งแต่แรกเริ่มที่ลูกเกิด ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่จึงมีส่วยช่วยอย่างมากในการพัฒนาสมองของลูกน้อย แต่ก่อนที่จะเริ่มต้นพัฒนาสมองของลูกเราจะต้องทราบถึงความสามารถในด้านต่างๆ ของลูกในวัยนี้

จริงหรือมั่ว??! วิตามินเสริมช่วยลูกกินข้าวได้มากขึ้น

การที่เด็กไม่ยอมรับประทานอาหารมักเกิดได้จากหลายปัจจัย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วไม่พบว่าเกิดจากการขาดวิตามินและแร่ธาตุเป็นหลัก หากแต่เกิดจากพฤติกรรมของเด็ก

เบบี๋กับผู้ใหญ่… ได้ยินเสียงในระดับความถี่ต่างกันนะรู้ป่าว

พัฒนาการเรื่องการได้ยินนั้น เราทุกคนต่างก็ทราบกันแล้วว่าสามารถที่จะได้ยินกันได้ตั้งแต่ตอนเป็นทารกที่อยู่ในครรภ์ของแม่ ซึ่งเสียงเราสามารถที่ได้ยินนั้น ก็จะแตกต่างกันกันออกไปตามมช่วงอายุของคนเรา ดังนี้…

ตรวจสอบการได้ยินลูกแรกเกิด ต้องรีบทำ!

สำหรับลูกแรกเกิด สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่จะต้องให้ความสนใจและเอาใจใส่ให้มากเป็นพิเศษ อย่างหนึ่ง คือ เรื่องของพัฒนาการการได้ยินของหูลูกน้อย

มาทำความรู้จักกับร่างกายของเบบี๋กันเถอะ

อยากชวนคุณพ่อคุณแม่ โดยเฉพาะมือใหม่มาลองทำความรู้จัก “เบบี้” ให้มากขึ้นด้วยการเรียนรู้เรื่องของร่างกายของเด็กน้อยของเรากันค่ะ พร้อมแล้วเริ่มเลย!

อ่านหนังสือให้ลูกฟังแบบไหนได้ “ช่วงเวลาคุณภาพ” เต็มๆ

แต่การอ่านแบบไหนล่ะที่จะช่วยให้ลูกสามารถซึบซับได้ดีขึ้นไปอีก …. วิธีง่ายๆ ที่ได้ผลคือ การอุ้มลูกนั่งตัก แล้วอ่านหนังสือให้ลูกฟังค่ะ

เป็นไข้ หายใจไม่สะดวก เบบี๋ป่วยธรรมดา… หรือว่าเป็นโรคปอดอักเสบ?

อาการป่วยของเด็กเล็กบางครั้งเป็นเรื่องยากที่คุณพ่อคุณแม่จะสามารถวินิจฉัยหรือคาดเดาได้ โดยเฉพาะโรคที่มีอาการใกล้เคียงกับอาการป่วยธรรมดา อย่างโรคหวัด คือ อาการไข้ คัดจมูก หายใจไม่สะดวก ซึ่งโรคที่มีความรุนแรงกว่าหวัดที่ฝงมากับอาการเหล่านี้ได้ คือ…

โรคมือ เท้า ปาก ป้องกันเบบี๋อย่างไรไม่ให้ติดต่อ

โรคมือเท้าปากมักพบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ซึ่งการติดต่อของโรคก็ติดกันได้ง่ายมาก เพียงสัมผัสสิ่งของต่าง ๆ ร่วมกัน จามใส่กัน หรือไปสัมผัสกับอุจจาระของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสอยู่ ก็สามารถติดเชื้อไวรัสได้แล้ว