สอนลูกระวังภัย.. ก่อนใครทำอันตราย
แม้ลูกวัยประถมอาจจะช่วยเหลือตัวเองได้ดี รู้เรื่องมากขึ้นก็จริง แต่เราก็ยังห่วงอยู่ดี แล้วภัยนอกบ้านสมัยนี้ก็รอบตัวค่ะ ครั้นเราจะคอยตามเฝ้าระวังภัยให้ลูกทุกฝีก้าวเหมือนตอนลูกยังเล็กๆ ก็คงเป็นไปไม่ได้
แม้ลูกวัยประถมอาจจะช่วยเหลือตัวเองได้ดี รู้เรื่องมากขึ้นก็จริง แต่เราก็ยังห่วงอยู่ดี แล้วภัยนอกบ้านสมัยนี้ก็รอบตัวค่ะ ครั้นเราจะคอยตามเฝ้าระวังภัยให้ลูกทุกฝีก้าวเหมือนตอนลูกยังเล็กๆ ก็คงเป็นไปไม่ได้
การให้ลูกเลือกกินอาหารที่ดีและมีประโยชน์ ช่วยให้เจ้าตัวเล็กของคุณแม่มีร่างกายและสมองแข็งแรง กระบวนการคิดและจดจำสิ่งต่างๆ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพค่ะ
จริงๆ แล้วไม่ใช่เรื่องแปลกเลยค่ะ ที่ลูกน้อยในวัยนี้จะพูดอะไรเกินจริงไปบ้าง เพราะเด็กในวัยนี้มักจะช่างพูด ช่างจินตนาการ และอย่างแชร์เรื่องราวของตัวเองให้ผู้อื่นสนใจและชื่นชอบ แต่หากลูกเริ่มโอ้อวดจนเกินขอบเขตก็คงจะไม่น่ารักเท่าไหร่ในสายตาคนอื่น จะทำอย่างไรให้ลูกเป็นเด็กช่างพูดที่แสนน่ารัก มาดูวิธีกันค่ะ
หลายต่อหลายครั้งที่เราจะเห็นกระทู้ของคนทั่วไป ประณามการกระทำของผู้ปกครองที่เอาลูกออกมาเที่ยวนอกบ้าน แล้วไม่ดูแลรับผิดชอบการกระทำของลูกที่ก่อกวน หรือสร้างความเดือนร้อนกับผู้ร่วมสังคม
ธรรมชาติของเด็กนั้นยิ่งห้ามเหมือนยิ่งยุ เพียงคำพูดไม่กี่คำ อาจไม่สามารถยับยั้งความอยากรู้อยากเห็นของเจ้าตัวซนประจำบ้านได้แน่ แต่เรามีเคล็ดลับสอนลูกน้อยมาฝากคุณพ่อคุณแม่กันค่ะ ฝึกการเรียนรู้เพื่อป้องกันภัย คุณพ่อคุณแม่ควรสอนให้ลูกรู้จักป้องกันอันตรายต่างๆ อย่างถูกวิธี เช่น การเดินข้ามถนน การเล่นน้ำหรือว่ายน้ำให้เป็น เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากความซุกซน มั่นใจว่าสิ่งแวดล้อมต้องปลอดภัย คุณต้องมั่นใจว่าบริเวณที่ลูกเล่นต้องไม่เกิดอันตราย เช่น ถ้าเด็กอยู่ในสนามเด็กเล่นข้างถนน คุณต้องมั่นใจว่ามีประตูหรือรั้วกั้น เพื่อไม่ให้เด็กวิ่งถลาออกจากสนามเด็กเล่นไปที่ถนน ของเล่นควรมีความสูงไม่เกิน 1.50 เมตร…
การดูแลเด็กเล็กที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้แล้วอาจไม่ใช่เรื่องยากเท่าการดูแลลูกในวัยทารก แต่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ คุณพ่อคุณแม่ต้องตระหนักไว้เสมอว่าเพียงชั่ววินาทีก็สามารถเกิดอันตรายได้ตลอดเวลา ดังนั้นต้องดูแลลูกน้อยในวัยนี้อย่างใกล้ชิดและไม่ประมาทเด็ดขาดค่ะ
เมื่อหยุดเล่มเกม สารเคมีที่สร้างสุขให้กับร่างกายจะลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดความรู้สึกกระวนกระวาย เป็นทุกข์ ไม่มีความสุข เด็กๆ จึงมีความต้องการที่จะเล่นเกมอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะเข้าสู่อารมณ์สนุกสนานต่อไปเรื่อยๆ
อาการนอนละเมอในเด็กเกิดจากสาเหตุที่แตกต่างกันไปมักเกิดขึ้นกับเด็กช่วง 4-5 ขวบขึ้นไป คุณพ่อคุณแม่ที่เคยเจอลูกมีอาการละเมอบ้างไม่ต้องกังวลไปค่ะ อาการนี้จะหายไปเองตามธรรมชาติ แต่ในเด็กที่มีอาการบ่อยๆ อาจจะต้องคนหาสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไรกันแน่
แน่นอนว่าพ่อแม่ทุกคนย่อมรักลูก เอาอกเอาใจลูกเป็นพิเศษ อยากให้ลูกพอใจ อยากให้ลูกมีความสุข อยากให้ลูกรักเรา แต่บางครั้งการเข้าข้างลูกหรือเอาอกเอาใจลูกจนเกินพอดี ที่เรียกว่า ตามใจ แต่ในบางกรณีการสปอยล์ลูก หรือที่ฝรั่งเรียกว่า spoil (ทำให้เสีย)
ความฉลาดของลูก ไม่ใช่เฉพาะความฉลาดทางวิชาการหรือทางสมองเท่านั้น ( IQ ) แต่ลูกยังต้องมีความลาดทางอารมณ์ ( EQ ) ด้วย ลูกจึงจะเติบโตมาเป็นคนที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปกติสุขและประสบความสำเร็จค่ะ