งานวิจัยพบ “โซเดียม” อาจทำเราเสี่ยงเป็นไมเกรนเพิ่มขึ้น
หลังจากที่เราพูดคุยกันในบทความเรื่อง ขาดวิตามินเสี่ยงมะเร็งไม่พอ ทำปวดไมเกรนด้วย! ทำให้เราเห็นความสำคัญมากขึ้นในเรื่องของการสร้างสมดุลร่างกาย โดยเฉพาะกับคนที่มีความเสี่ยงมีอาการไมเกรน
หลังจากที่เราพูดคุยกันในบทความเรื่อง ขาดวิตามินเสี่ยงมะเร็งไม่พอ ทำปวดไมเกรนด้วย! ทำให้เราเห็นความสำคัญมากขึ้นในเรื่องของการสร้างสมดุลร่างกาย โดยเฉพาะกับคนที่มีความเสี่ยงมีอาการไมเกรน
สำหรับนักวิ่งมือใหม่เหล่านี้ มีหลายคนที่ตั้งเป้าออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและการมีน้ำหนักที่เหมาะสม แต่พอผ่านไปไม่นานกลับต้องล้มเลิกความตั้งใจเพราะคิดว่าลองพยายามไปตั้งมากมาย แต่ไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนกับรูปร่างและสุขภาพของตนเสียที นพ. กรกฎ พานิช (ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์การกีฬาในประเทศไทย ) ได้แนะนำและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวิ่ง รวมไปถึงหลักโภชนาการที่สำคัญ ที่นักวิ่งทุกคนไม่ว่าจะมืออาชีพหรือสมัครเล่น ควรรู้ไว้เป็นพื้นฐานประกอบการเล่นกีฬาประเภทนี้
ในชุดของการทดลองกับหนู ของ Johns Hopkins นักวิจัยได้ใช้สารประกอบทดลองเพื่อลดการสูญเสียเส้นผม ลดผมขาวและผิวหนังอักเสบเชื่อมโยงกับอาหารของมนุษย์ซึ่งมีไขมันและคอเลสเตอรอลสูง
มีงานวิจัยจาก British Journal of Sports Medicine พบว่า คุณอาจเพิ่มชั่วโมงความสุขในการดื่ม (สำหรับนักดื่ม) ได้ หากคุณเป็นคนหนึ่งออกกำลังกายเป็นประจำ เพราะการออกกำลังกายนั้นช่วยลดความเสี่ยงโรคมะเร็งที่เกี่ยวกับการดื่มได้นั่นเอง
งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์รายงานถึง ผลงานวิจัยชิ้นใหม่จากหนูทดลองพบว่า สารที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายเผาผลาญ “กรดไขมันโอเมก้า 3” สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของมะเร็งได้ ซึ่งสารที่เรียกว่า Endocannabinoids (เอนโดโคนันบีนอยด์) จะสร้างขึ้นตามธรรมชาติโดยร่างกาย และมีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับ Cannabinoids ที่พบในกัญชาแต่ไม่มีผลต่อประสาท ช่วยลดความเจ็บปวด
เราอาจเคยได้ยินว่า กินถั่วช่วยลดอ้วนได้ เพราะในถั่วมีโปรตีนสูง แต่ล่าสุดมีงานวิจัยที่พบว่า “ถั่ว” ยังช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งได้ด้วยนะ มีการศึกษาจาก Yale Cancer Center ที่ได้เผยแพร่ใน Journal of Clinical Oncology พบว่า
งานวิจัยใหม่พบว่า “ความเสี่ยงในการเสียชีวิตและเป็นมะเร็งในคนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้น ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่พวกเขาดื่มมันด้วย”
ผู้หญิงที่ทานผักและผลไม้ในปริมาณมากในแต่ละวันอาจมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านมน้อยลงตามการวิจัยใหม่ของนักวิจัยจาก Harvard T.H. Chan School of Public Health โดยในงานวิจัยนี้นั้น ตระกูลกะหล่ำ เช่น บร็อคโคลี
ผักสีเหลืองและสีส้มมีความเกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับความเสี่ยงมะเร็งเต้านมลดลง
ผู้ชายวัยกลางคน หากกินอาหารที่มีโปรตีนปริมาณสูง จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจวายสูงกว่าคนที่กินโปรตีนน้อยลงตามการวิจัยใหม่ของ Circulation: Heart Failure, American Heart Association Journal
ยาหรือสารสกัดตัวใหม่ที่อิงจาก “แคปไซซิน” สารประกอบที่ได้จาก “พริก” ช่วยลดน้ำหนักในระยะยาวและการเผาผลาญอาหารที่ดีขึ้นในหนูกินอาหารที่มีไขมันสูงในจากการศึกษาโดย คณะเภสัชศาสตร์ University of Wyoming